มาตรฐาน ISO9000
กรมอาชีวศึกษา
(2539 :13) กล่าวว่า มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 หมายถึงมาตรฐานสากล
เกี่ยวกับระบบบริหารงานคุณภาพขั้นพื้นฐานที่ใช้เพื่อการบริหารหรือจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพ
โดยเน้นการสร้างคุณภาพภายในองค์กร ซึ่งจะเน้นองค์กรประเภทใดก็ได้ไม่จำกัดชนิดของสินค้าหรือบริการ
ไม่ระบุชนิดหรือขนาดของอุตสาหกรรมใดโดยเฉพาะ นำมาใช้โดยไม่มีขีดจำกัด
สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) (2546 : 2/16) ได้นิยามความหมายระบบบริหารงาน
คุณภาพ (Quality Management System) หมายถึง ระบบที่มีการกำหนดนโยบายและวัตถุประสงค์และการ
ดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดทิศทางและควบคุมองค์การในเรื่องคุณภาพ
สรุป มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 คือมาตรฐานสากล ซึ่งเป็นระบบบริหาร
ประกันคุณภาพขั้นพื้นฐานอันเกี่ยวกับการจัดการทางด้านคุณภาพและการประกันคุณภาพ โดยมีความมุ่งหมาย
ที่จะให้ระบบคุณภาพเท่าเทียมกันระหว่างองค์การต่าง ๆ และประเทศต่าง ๆ
โดยเน้นการสร้างคุณภาพภายในองค์กร ซึ่งจะเน้นองค์กรประเภทใดก็ได้ไม่จำกัดชนิดของสินค้าหรือบริการ
ไม่ระบุชนิดหรือขนาดของอุตสาหกรรมใดโดยเฉพาะ นำมาใช้โดยไม่มีขีดจำกัด
สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) (2546 : 2/16) ได้นิยามความหมายระบบบริหารงาน
คุณภาพ (Quality Management System) หมายถึง ระบบที่มีการกำหนดนโยบายและวัตถุประสงค์และการ
ดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดทิศทางและควบคุมองค์การในเรื่องคุณภาพ
สรุป มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 คือมาตรฐานสากล ซึ่งเป็นระบบบริหาร
ประกันคุณภาพขั้นพื้นฐานอันเกี่ยวกับการจัดการทางด้านคุณภาพและการประกันคุณภาพ โดยมีความมุ่งหมาย
ที่จะให้ระบบคุณภาพเท่าเทียมกันระหว่างองค์การต่าง ๆ และประเทศต่าง ๆ
ประวัติความเป็นมาของมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000
องค์กรสากลว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for
Standardization : ISO) ซึ่ง
ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ก่อตั้งเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1947 (พ.ศ. 2490) ปัจจุบัน
มีสมาชิก 143 ประเทศ ซึ่งครั้งแรกนั้นมีผู้แทนจากประเทศต่าง ๆ 25 ประเทศร่วมประชุมกันที่กรุงลอนดอน
มีมติตั้งองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานขึ้น และสหประชาชาติได้ให้การยอมรับเป็นองค์การ
ชำนาญพิเศษประเภทที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐบาล
ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ก่อตั้งเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1947 (พ.ศ. 2490) ปัจจุบัน
มีสมาชิก 143 ประเทศ ซึ่งครั้งแรกนั้นมีผู้แทนจากประเทศต่าง ๆ 25 ประเทศร่วมประชุมกันที่กรุงลอนดอน
มีมติตั้งองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานขึ้น และสหประชาชาติได้ให้การยอมรับเป็นองค์การ
ชำนาญพิเศษประเภทที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐบาล
จุดเริ่มแรกในการดำเนินระบบมาตรฐาน ISO 9000 คือ
สถาบันมาตรฐานแห่งประเทศเยอรมนี
(DIN) ในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) มีแนวคิดพื้นฐานคือ การนำระบบมาตรฐานของแต่ละประเทศที่ไม่เหมือนกัน
มารวมให้เป็นมาตรฐานประเภทเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อขจัดปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นซึ่งตรงกับหลักการ
ของ ISO ดังนั้นทาง ISO จึงได้ตั้งคณะกรรมการทางด้านเทคนิค (Technic Committee : ISO/TC/176) ขึ้นมา
การจัดตั้งองค์กร ISO มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการกำหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือเกิดระบบมาตรฐานของโลกที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นไป
(DIN) ในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) มีแนวคิดพื้นฐานคือ การนำระบบมาตรฐานของแต่ละประเทศที่ไม่เหมือนกัน
มารวมให้เป็นมาตรฐานประเภทเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อขจัดปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นซึ่งตรงกับหลักการ
ของ ISO ดังนั้นทาง ISO จึงได้ตั้งคณะกรรมการทางด้านเทคนิค (Technic Committee : ISO/TC/176) ขึ้นมา
การจัดตั้งองค์กร ISO มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการกำหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือเกิดระบบมาตรฐานของโลกที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นไป
ISO เดิมใช้คำย่อว่า "IOS" โดยมีความหมายในภาษากรีกแปลว่า
ความสับสน (ไม่เป็นมงคล)
จึงเปลี่ยนมาเป็น ISO ซึ่งมาจากภาษากรีกคือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับเจตนารมณ์ขององค์การ
ISO ที่ต้องการให้ทั่วโลกมีมาตรฐานที่มีความเท่าเทียมกัน (ทัดเทียมกัน) โดยมีภารกิจหลัก คือ
จึงเปลี่ยนมาเป็น ISO ซึ่งมาจากภาษากรีกคือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับเจตนารมณ์ขององค์การ
ISO ที่ต้องการให้ทั่วโลกมีมาตรฐานที่มีความเท่าเทียมกัน (ทัดเทียมกัน) โดยมีภารกิจหลัก คือ
1. ให้การสนับสนุนพัฒนามาตรฐาน
และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อสนองต่อการค้าขายแลกเปลี่ยน
สินค้า และบริการของนานาชาติทั่วโลก
2. พัฒนาความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และภูมิปัญญาของมวลมนุษย์
ชาติ
สินค้า และบริการของนานาชาติทั่วโลก
2. พัฒนาความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และภูมิปัญญาของมวลมนุษย์
ชาติ
ผลงานที่เป็นรูปธรรมของ ISO คือ การกำหนดมาตรฐานต่าง ๆ
ที่เรียกว่ามาตรฐานสากล (Inter-
national Standard) ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการด้าน
เทคนิคขึ้นมาคณะหนึ่ง เป็นกรรมการชุดที่ 176 จากที่มีกรรมการขณะนี้กว่า 2000 ชุด กรรมการชุดนี้เรียกว่า
Technical Committee, ISO/TC Quality Assurance และ
national Standard) ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการด้าน
เทคนิคขึ้นมาคณะหนึ่ง เป็นกรรมการชุดที่ 176 จากที่มีกรรมการขณะนี้กว่า 2000 ชุด กรรมการชุดนี้เรียกว่า
Technical Committee, ISO/TC Quality Assurance และ
คณะกรรมการวิชาการชุดที่ 176 ได้ดำเนินการยกร่างระบบบริหารงานคุณภาพเป็นสากล
ต้นแบบ
ของ ISOO 9000 นั้นมาจากมาตรฐานแห่งชาติของอังกฤษ คือ BS 5750 มาเป็นแนวทาง คือระบบบริหารงาน
คุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานของระบบการบริหารงาน เพื่อให้เกิดคุณภาพ ซึ่งมาตรฐานนี้ได้ระบุถึงข้อ
กำหนดที่จำเป็นต้องมีในระบบคุณภาพและใช้เป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติซึ่งสามารถใช้ได้กับอุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม ธุรกิจการบริหารทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
ของ ISOO 9000 นั้นมาจากมาตรฐานแห่งชาติของอังกฤษ คือ BS 5750 มาเป็นแนวทาง คือระบบบริหารงาน
คุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานของระบบการบริหารงาน เพื่อให้เกิดคุณภาพ ซึ่งมาตรฐานนี้ได้ระบุถึงข้อ
กำหนดที่จำเป็นต้องมีในระบบคุณภาพและใช้เป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติซึ่งสามารถใช้ได้กับอุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม ธุรกิจการบริหารทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
ISO ประกอบด้วยสมาชิก 3 ประเภท คือ
1. Member Body เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติ ซึ่งหมายถึง
เป็นตัวแทนทางด้านการมาตรฐาน
ของประเทศนั้น ๆ มีสิทธิออกเสียงในเรื่องของวิชาการ มีสิทธิเข้ารับการเลือกตั้งเป็นคณะมนตรี ISO และ
สามารถเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่
2. Correspondent Member เป็นหน่วยงานของประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังไม่มีสถาบันมาตรฐาน
เป็นของตัวเอง สมาชิกประเภทนี้จะไม่เข้าร่วมในเรื่องของวิชาการ แต่มีสิทธิจะได้รับข่าวสารความเคลื่อนไหว
ของ ISO และเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่ในฐานะผู้สังเกตการณ์
3. Subscribe Membership สมาชิกประเภทนี้ เปิดสำหรับกลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างเล็ก
ให้สามารถติดต่อกับ ISO ได้
ของประเทศนั้น ๆ มีสิทธิออกเสียงในเรื่องของวิชาการ มีสิทธิเข้ารับการเลือกตั้งเป็นคณะมนตรี ISO และ
สามารถเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่
2. Correspondent Member เป็นหน่วยงานของประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังไม่มีสถาบันมาตรฐาน
เป็นของตัวเอง สมาชิกประเภทนี้จะไม่เข้าร่วมในเรื่องของวิชาการ แต่มีสิทธิจะได้รับข่าวสารความเคลื่อนไหว
ของ ISO และเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่ในฐานะผู้สังเกตการณ์
3. Subscribe Membership สมาชิกประเภทนี้ เปิดสำหรับกลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างเล็ก
ให้สามารถติดต่อกับ ISO ได้
สำหรับประเทศไทยได้จัดตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบในเรื่องมาตรฐานของประเทศ
เรียกว่า
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) (Thai Industrial Standard Institute: TISI) สังกัดกระทรวง
อุตสาหกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2511 หมายเลขโทรศัพท์ 02-248-1550 โทรสาร 02-246-4085, 246-4307 (สำหรับ
มาตรฐานที่ใช้ควบคุมผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรียกว่า มาตรฐานอุตสาหกรรม : มอก.) และ สมอ. ได้ประกาศ
ใช้อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108
ตอนที่ 99 วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2534 โดยใช้ชื่อว่า อนุกรมมาตรฐานระบบคุณภาพ มอก. - ISO 9000 ในปี
พ.ศ. 2542
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) (Thai Industrial Standard Institute: TISI) สังกัดกระทรวง
อุตสาหกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2511 หมายเลขโทรศัพท์ 02-248-1550 โทรสาร 02-246-4085, 246-4307 (สำหรับ
มาตรฐานที่ใช้ควบคุมผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรียกว่า มาตรฐานอุตสาหกรรม : มอก.) และ สมอ. ได้ประกาศ
ใช้อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108
ตอนที่ 99 วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2534 โดยใช้ชื่อว่า อนุกรมมาตรฐานระบบคุณภาพ มอก. - ISO 9000 ในปี
พ.ศ. 2542
ภาพที่ 39 แสดงเครื่องหมายที่ใช้รับรองคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดย
สมอ.
เครื่องหมายมาตรฐาน ทั่วไป | |
เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ | |
เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย | |
เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม | |
เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า |
ในปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกส่วนมากให้การยอมรับมาตรฐาน ISO
9000 อย่างชัดเจน
แต่อย่างไรก็ตามได้มีการเรียกชื่อระบบคุณภาพที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละประเทศ ดังนี้
แต่อย่างไรก็ตามได้มีการเรียกชื่อระบบคุณภาพที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละประเทศ ดังนี้
ชื่อเรียก และอักษรย่อ
สำหรับมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 ของประเทศต่าง
ๆ
ชื่อประเทศ
|
ชื่อเรียกย่อ
|
1. มาตรฐานไอเอสโอ
2. ออสเตรเลีย 3. ออสเตรีย 4. เบลเยี่ยม 5. แคนาดา 6. เดนมาร์ก 7. ตลาดร่วมด้านเศรษฐกิจของยุโรป 8. ฟินแลนด์ 9. ฝรั่งเศส 10. เยอรมัน 11. อินเดีย 12. ไอร์แลนด์ 13. เนเธอร์แลนด์ 14. นอร์เวย์ 15. แอฟริกาใต้ 16. สเปน 17. สวีเดน 18. สวิตเซอร์แลนด์ 19. เครือจักรภพ 20. สหรัฐอเมริกา 21. ยูโกสลาเวีย 22. ญี่ปุ่น 23. สิงคโปร์ 24. ไทย 25. จีน |
1. ISO 9000
2. AS 3900 3. Norm ISO 9000 4. NBN X 50-002-1 5. DS/ISO 9000 6. DS/EN 29000 7. EN 29000 8. SFS-ISO 9000 9. NF S 50-121 10. DIN ISO 9000 11. IS 300 12. ISO 9000 13. NEN-ISO 9000 14. NS 5801 15. SABS 0157 16. UNE 66 900 17. SS 9000 18. SN-ISO>900 19. BS 5750 20. ANSI/ASQC Q90 21. JUS A.K.1.010 22. JISZ 9900 - 1991 23. SS 308.1998 24. TISI ISO 9000 25. GB/T 10300.1-88 |
สรุปประวัติความเป็นมาของ ISO
1. ISO ย่อมาจากคำว่า International Organization for Standardization
(องค์การระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน) ซึ่งเป็นองค์การสากลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดหรือปรับมาตรฐาน
นานาชาติเกือบทุกประเภท (ยกเว้นด้านไฟฟ้า ซึ่งเป็นหน้าที่ของ IEC) เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ ในโลก
สามารถใช้มาตรฐานเดียวกันได้
2. ISO เมื่อก่อนใช้คำย่อว่า "IOS" โดยมีความหมายในทางภาษากรีกแปลออกมาแล้วไม่เป็น
มงคล จึงเปลี่ยนมาเป็น ISO ซึ่งมาจากภาษากรีก คือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับเจตนารมณ์ของ
องค์กร ISO ที่ต้องการให้ทั่วโลกมีมาตรฐานที่มีความเท่าเทียมเทียมกัน
3. องค์การนี้เป็นองค์การนานาชาติที่ดำเนินกิจกรรม เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ชาติ ได้
ก่อตั้งเป็นทางการ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1947 หรือ พ.ศ. 2490 ซึ่งครั้งแรกนั้นมีผู้แทนจากประเทศต่าง ๆ 25
ประเทศ ร่วมประชุมกันที่กรุงลอนดอน มีมติตั้งองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานขึ้น และสห-
ประชาชาติได้ให้การยอมรับเป็นองค์การชำนาญพิเศษประเภทที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐบาล
4. การจัดตั้งองค์การ ISO มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการกำหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อประโยชน์ทางการค้า หรือเกิดระบบ
มาตรฐานของโลกที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นไป
5. ปัจจุบันองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน หรือ ISO มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประกอบด้วยสมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกปัจจุบัน 143 ประเทศ โดยมีภารกิจ
หลักคือ
ประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน) ซึ่งเป็นองค์การสากลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดหรือปรับมาตรฐาน
นานาชาติเกือบทุกประเภท (ยกเว้นด้านไฟฟ้า ซึ่งเป็นหน้าที่ของ IEC) เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ ในโลก
สามารถใช้มาตรฐานเดียวกันได้
2. ISO เมื่อก่อนใช้คำย่อว่า "IOS" โดยมีความหมายในทางภาษากรีกแปลออกมาแล้วไม่เป็น
มงคล จึงเปลี่ยนมาเป็น ISO ซึ่งมาจากภาษากรีก คือ ISOS แปลว่า "เท่าเทียมกัน" และตรงกับเจตนารมณ์ของ
องค์กร ISO ที่ต้องการให้ทั่วโลกมีมาตรฐานที่มีความเท่าเทียมเทียมกัน
3. องค์การนี้เป็นองค์การนานาชาติที่ดำเนินกิจกรรม เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ชาติ ได้
ก่อตั้งเป็นทางการ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1947 หรือ พ.ศ. 2490 ซึ่งครั้งแรกนั้นมีผู้แทนจากประเทศต่าง ๆ 25
ประเทศ ร่วมประชุมกันที่กรุงลอนดอน มีมติตั้งองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานขึ้น และสห-
ประชาชาติได้ให้การยอมรับเป็นองค์การชำนาญพิเศษประเภทที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐบาล
4. การจัดตั้งองค์การ ISO มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการกำหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อประโยชน์ทางการค้า หรือเกิดระบบ
มาตรฐานของโลกที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นไป
5. ปัจจุบันองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน หรือ ISO มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประกอบด้วยสมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกปัจจุบัน 143 ประเทศ โดยมีภารกิจ
หลักคือ
5.1 ให้การสนับสนุนและพัฒนามาตรฐาน และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
เพื่อสนองต่อการค้าขาย
แลกเปลี่ยนสินค้า และการบริการของนานาชาติทั่วโลก
5.2 พัฒนาความร่วมมือในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และภูมิปัญญาของ
มวลมนุษยชาติ
แลกเปลี่ยนสินค้า และการบริการของนานาชาติทั่วโลก
5.2 พัฒนาความร่วมมือในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และภูมิปัญญาของ
มวลมนุษยชาติ
6. ผลงานที่เห็นเป็นรูปธรรมของ ISO คือการกำหนดมาตรฐานต่าง
ๆ ที่เรียกว่ามาตรฐานสากล
(International Standard) และได้มีบทบาทในการกำหนดมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ขึ้น
เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านเทคนิคขึ้นมาคณะหนึ่ง
เป็นกรรมการชุดที่ 176 จากที่มีกรรมการขณะนี้กว่า 2000 ชุด กรรมการชุดนี้เรียกว่า Technical Committee,
ISO/TC 176 on Quality Assurance
(International Standard) และได้มีบทบาทในการกำหนดมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ขึ้น
เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านเทคนิคขึ้นมาคณะหนึ่ง
เป็นกรรมการชุดที่ 176 จากที่มีกรรมการขณะนี้กว่า 2000 ชุด กรรมการชุดนี้เรียกว่า Technical Committee,
ISO/TC 176 on Quality Assurance
7. คณะกรรมการวิชาการชุดที่ 176 ได้ดำเนินการยกร่างระบบบริหารคุณภาพเป็นสากลโดยการ
นำเอามาตรฐาน BS 5750 ของอังกฤษมาเป็นแนวทาง คือ ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐาน
ของระบบการบริหารงาน เพื่อให้เกิดคุณภาพ ซึ่งมาตรฐานนี้ได้ระบุถึงข้อกำหนดที่จำเป็นต้องมีในระบบ
คุณภาพและใช้เป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติซึ่งสามารถใช้ได้กับอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ธุรกิจการ การ
บริหาร ทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่
นำเอามาตรฐาน BS 5750 ของอังกฤษมาเป็นแนวทาง คือ ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐาน
ของระบบการบริหารงาน เพื่อให้เกิดคุณภาพ ซึ่งมาตรฐานนี้ได้ระบุถึงข้อกำหนดที่จำเป็นต้องมีในระบบ
คุณภาพและใช้เป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติซึ่งสามารถใช้ได้กับอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ธุรกิจการ การ
บริหาร ทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่
6.1.2 ลักษณะสำคัญของมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ
: ISO 9000
มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 หรือเรียกอย่างย่อว่าระบบคุณภาพ ISO 9000 ตาม
ความหมายที่กล่าวมาแล้วว่า มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานสากลที่ใช้เพื่อการบริหารหรือ
จัดการคุณภาพภายในองค์การ ซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นองค์การธุรกิจ กิจการอุตสาหกรรมก็สามารถที่จะนำเอาระบบ
คุณภาพนี้ไปใช้ได้ ทั้งนี้ระบบคุณภาพ ISO 9000 จะไม่รับประกันว่าผลิตภัณฑ์จะดีที่สุดหรือมีมาตรฐานที่สุด
แต่ระบบคุณภาพ ISO 9000 จะประกันว่าการบริหารงานขององค์การนั้นมีคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ซึ่งอาจจะเป็น
ผลกันว่าเมื่อมีการบริหารงานที่ดีมีคุณภาพ ย่อมจะส่งผลไปถึงความมีคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการด้วย
ลักษณะสำคัญของมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ : ISO 9000 ดังนี้
มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 หรือเรียกอย่างย่อว่าระบบคุณภาพ ISO 9000 ตาม
ความหมายที่กล่าวมาแล้วว่า มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานสากลที่ใช้เพื่อการบริหารหรือ
จัดการคุณภาพภายในองค์การ ซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นองค์การธุรกิจ กิจการอุตสาหกรรมก็สามารถที่จะนำเอาระบบ
คุณภาพนี้ไปใช้ได้ ทั้งนี้ระบบคุณภาพ ISO 9000 จะไม่รับประกันว่าผลิตภัณฑ์จะดีที่สุดหรือมีมาตรฐานที่สุด
แต่ระบบคุณภาพ ISO 9000 จะประกันว่าการบริหารงานขององค์การนั้นมีคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ซึ่งอาจจะเป็น
ผลกันว่าเมื่อมีการบริหารงานที่ดีมีคุณภาพ ย่อมจะส่งผลไปถึงความมีคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการด้วย
ลักษณะสำคัญของมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ : ISO 9000 ดังนี้
1. เป็นการบริหารงานคุณภาพ เพื่อทำให้ลูกค้าพึงพอใจ
โดยยึดหลักของคุณภาพที่มุ่งเน้นให้มี
การจัดทำขั้นตอนการดำเนินงานและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ (สินค้าหรือบริการ) เป็นไปตาม
ความต้องการของลูกค้าตั้งแต่แรกที่ได้รับสินค้าหรือบริการตามข้อตกลง
2. เน้นการบริหารงานคุณภาพทุกขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มขั้นตอนแรกจนขั้นตอนสุดท้ายในกระบวน
การผลิตของธุรกิจนั้น ๆ
3. เน้นการปฏิบัติที่เป็นระบบอย่างมีแบบแผน เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น
4. สามารถตรวจสอบได้ง่าย โดยมีหลักฐานทางด้านเอกสารที่เก็บไว้ ซึ่งจะนำเอาสิ่งที่ปฏิบัติมา
จัดทำเป็นเอกสาร โดยจัดเป็นหมวดหมู่เพื่อให้นำไปใช้งานได้สะดวกและก่อให้เกิดประสิทธิภาพ
5. เป็นระบบบริหารงานคุณภาพที่ทุกคนในองค์การมีส่วนร่วม
6. เป็นแนวทางการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์การ
7. เป็นระบบบริหารงานคุณภาพที่นานาชาติยอมรับและใช้เป็นมาตรฐานของประเทศ
8. เป็นที่ยอมรับของลูกค้าชั้นนำ เช่น ประเทศในกลุ่มทวีปยุโรป หรือสหรัฐอเมริกา และเป็น
เงื่อนไขของกลุ่มประเทศภายใต้การตกลงว่าด้วยสิทธิการปกป้องอัตราภาษีศุลกากรระหว่างประเทศ (General
Agreement on Tax and Tariff; GATT) ที่กำหนดให้ประเทศคู่แข่งขันทางการค้าใช้เป็นมาตรฐานสากลให้
การยอมรับซึ่งกันและกันสำหรับการทดสอบและการรับรอง
9. ระบบคุณภาพ ISO 9000 เป็นการรับรองในระบบคุณภาพขององค์การ ไม่ใช่เป็นการรับรอง
ตัวผลิตภัณฑ์เหมือนกับมาตรฐานสินค้าอื่น ๆ
10. ต้องมีหน่วยงานที่ 3 (third party) ที่ได้รับการรับรองจากองค์การมาตรฐานสากลระหว่าง
ประเทศ (ISO) มาทำการตรวจสอบเพื่อให้การรับรอง เมื่อผ่านการรับรองแล้วจะต้องได้รับการตรวจซ้ำอีก
อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลาของการรับรอง 3 ปี เมื่อครบกำหนด 3 ปี แล้วจะต้องมีการตรวจ
ประเมินใหม่ทั้งหมด
การจัดทำขั้นตอนการดำเนินงานและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ (สินค้าหรือบริการ) เป็นไปตาม
ความต้องการของลูกค้าตั้งแต่แรกที่ได้รับสินค้าหรือบริการตามข้อตกลง
2. เน้นการบริหารงานคุณภาพทุกขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มขั้นตอนแรกจนขั้นตอนสุดท้ายในกระบวน
การผลิตของธุรกิจนั้น ๆ
3. เน้นการปฏิบัติที่เป็นระบบอย่างมีแบบแผน เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น
4. สามารถตรวจสอบได้ง่าย โดยมีหลักฐานทางด้านเอกสารที่เก็บไว้ ซึ่งจะนำเอาสิ่งที่ปฏิบัติมา
จัดทำเป็นเอกสาร โดยจัดเป็นหมวดหมู่เพื่อให้นำไปใช้งานได้สะดวกและก่อให้เกิดประสิทธิภาพ
5. เป็นระบบบริหารงานคุณภาพที่ทุกคนในองค์การมีส่วนร่วม
6. เป็นแนวทางการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์การ
7. เป็นระบบบริหารงานคุณภาพที่นานาชาติยอมรับและใช้เป็นมาตรฐานของประเทศ
8. เป็นที่ยอมรับของลูกค้าชั้นนำ เช่น ประเทศในกลุ่มทวีปยุโรป หรือสหรัฐอเมริกา และเป็น
เงื่อนไขของกลุ่มประเทศภายใต้การตกลงว่าด้วยสิทธิการปกป้องอัตราภาษีศุลกากรระหว่างประเทศ (General
Agreement on Tax and Tariff; GATT) ที่กำหนดให้ประเทศคู่แข่งขันทางการค้าใช้เป็นมาตรฐานสากลให้
การยอมรับซึ่งกันและกันสำหรับการทดสอบและการรับรอง
9. ระบบคุณภาพ ISO 9000 เป็นการรับรองในระบบคุณภาพขององค์การ ไม่ใช่เป็นการรับรอง
ตัวผลิตภัณฑ์เหมือนกับมาตรฐานสินค้าอื่น ๆ
10. ต้องมีหน่วยงานที่ 3 (third party) ที่ได้รับการรับรองจากองค์การมาตรฐานสากลระหว่าง
ประเทศ (ISO) มาทำการตรวจสอบเพื่อให้การรับรอง เมื่อผ่านการรับรองแล้วจะต้องได้รับการตรวจซ้ำอีก
อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลาของการรับรอง 3 ปี เมื่อครบกำหนด 3 ปี แล้วจะต้องมีการตรวจ
ประเมินใหม่ทั้งหมด
โครงสร้างและแนวคิดของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 : 2000
โครงสร้างและแนวคิดของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 : 2000 มีดังนี้
โครงสร้างและแนวคิดของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 : 2000 มีดังนี้
1. มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของมาตรฐาน
และเปลี่ยนแปลงแนวคิดเพื่อให้ตรงตามความ
พึงพอใจของลูกค้า
2. ประเพณีที่เคยปฏิบัติมาที่เป็นข้อกำหนดทั้ง 20 ข้อของมาตรฐานในปี 1994 ถูกเปลี่ยนให้เป็น
แนวคิดในการมองและคิดอย่างเป็นกระบวนการ (Process Approach)
3. โครงสร้างพื้นฐานของกระบวนการจะถูกทำให้สอดคล้องตรงกับแนวคิดเรื่องวงจรการพัฒนา
ระบบอย่างต่อเนื่อง Plan-Do-Check-Act (P-D-C-A) เปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้สอดคล้องรับกับมาตรฐาน
ISO 14000:1996 และ OHSAS 18000:1999
4. ใช้หลักการบริหารงานคุณภาพ 8 ประการเป็นเครื่องมือช่วยในการทำให้การบริหารงาน
ระบบคุณภาพประสบความสำเร็จ
พึงพอใจของลูกค้า
2. ประเพณีที่เคยปฏิบัติมาที่เป็นข้อกำหนดทั้ง 20 ข้อของมาตรฐานในปี 1994 ถูกเปลี่ยนให้เป็น
แนวคิดในการมองและคิดอย่างเป็นกระบวนการ (Process Approach)
3. โครงสร้างพื้นฐานของกระบวนการจะถูกทำให้สอดคล้องตรงกับแนวคิดเรื่องวงจรการพัฒนา
ระบบอย่างต่อเนื่อง Plan-Do-Check-Act (P-D-C-A) เปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้สอดคล้องรับกับมาตรฐาน
ISO 14000:1996 และ OHSAS 18000:1999
4. ใช้หลักการบริหารงานคุณภาพ 8 ประการเป็นเครื่องมือช่วยในการทำให้การบริหารงาน
ระบบคุณภาพประสบความสำเร็จ
ISO
9000 : 2000 มุ่งส่งเสริมให้มีการนำการบริหารโดยการมองและคิดอย่างเป็นกระบวนการ
สำหรับการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ การนำระบบบริหารคุณภาพไปประยุกต์ใช้ และการปรับปรุง
ประสิทธิผลของระบบบริหารขององค์การ ทั้งนี้ก็เพื่อให้องค์การสามารถเสริมสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า
ของตนด้านการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า
สำหรับการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ การนำระบบบริหารคุณภาพไปประยุกต์ใช้ และการปรับปรุง
ประสิทธิผลของระบบบริหารขององค์การ ทั้งนี้ก็เพื่อให้องค์การสามารถเสริมสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า
ของตนด้านการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า
ในการที่องค์การใดจะดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพนั้น
ผู้บริหารจำเป็นต้องกำหนดและบริหาร
ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบภายในองค์การนั้น อาจกล่าวได้ว่ากิจกรรม
ใด ๆ ก็ตามที่มีการใช้ทรัพยากร และมีการจัดการเพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปัจจัยป้อนเข้า (Inputs) ให้
กลายเป็นผลผลิต (Outputs) กิจกรรมนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นกระบวนการ (Process) บ่อยครั้งที่ผลผลิตของ
กระบวนการหนึ่งจะกลายเป็นปัจจัยป้อนเข้าให้กับกระบวนการหนึ่งที่อยู่ถัดไป
การประยุกต์ใช้ระบบจะประกอบขึ้นด้วยกระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ภายในองค์การ โดยมีการระบุ
ถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ (Interactions) รวมถึงการบริหารจัดการกระบวนการเหล่านั้นด้วย การ
ดำเนินการเช่นว่านี้อาจเรียกได้ว่าการบริหารโดยมองเป็นกระบวนการ (Process approach)
คุณประโยชน์ประการหนึ่งของการบริหารโดยการมองและคิดอย่างเป็นกระบวนการ คือ การ
เอื้ออำนวยให้องค์การสามารถดำเนินการควบคุมการเชื่อมโยงระหว่างแต่ละกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
กระบวนการ และการผนวกร่วมกันของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบบริหารคุณภาพ จะทำให้มีการ
เน้นถึงความสำคัญของ
ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบภายในองค์การนั้น อาจกล่าวได้ว่ากิจกรรม
ใด ๆ ก็ตามที่มีการใช้ทรัพยากร และมีการจัดการเพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปัจจัยป้อนเข้า (Inputs) ให้
กลายเป็นผลผลิต (Outputs) กิจกรรมนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นกระบวนการ (Process) บ่อยครั้งที่ผลผลิตของ
กระบวนการหนึ่งจะกลายเป็นปัจจัยป้อนเข้าให้กับกระบวนการหนึ่งที่อยู่ถัดไป
การประยุกต์ใช้ระบบจะประกอบขึ้นด้วยกระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ภายในองค์การ โดยมีการระบุ
ถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ (Interactions) รวมถึงการบริหารจัดการกระบวนการเหล่านั้นด้วย การ
ดำเนินการเช่นว่านี้อาจเรียกได้ว่าการบริหารโดยมองเป็นกระบวนการ (Process approach)
คุณประโยชน์ประการหนึ่งของการบริหารโดยการมองและคิดอย่างเป็นกระบวนการ คือ การ
เอื้ออำนวยให้องค์การสามารถดำเนินการควบคุมการเชื่อมโยงระหว่างแต่ละกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
กระบวนการ และการผนวกร่วมกันของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบบริหารคุณภาพ จะทำให้มีการ
เน้นถึงความสำคัญของ
1. การทำความเข้าใจและการตอบสนองต่อข้อกำหนด
2. ความจำเป็นในการพิจารณาถึงกระบวนการ ในแง่ของการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Added Value)
3. การให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินการของกระบวนการและประสิทธิผลของกระบวนการ
4. การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจวัดอย่างเป็นระบบ
2. ความจำเป็นในการพิจารณาถึงกระบวนการ ในแง่ของการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Added Value)
3. การให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินการของกระบวนการและประสิทธิผลของกระบวนการ
4. การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจวัดอย่างเป็นระบบ
หลักการทางระบบ
ISO 9000 : 2000 คือการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมองเป็นกระบวนการ
ซึ่งสามารถอธิบายเป็นแผนภูมิได้ ดังนี้
ซึ่งสามารถอธิบายเป็นแผนภูมิได้ ดังนี้
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนา, 2546 : 1-7
จากภาพ
จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าลูกค้าขององค์การ มีบทบาทเป็นอย่างมากต่อการกำหนดหรือ
ระบุชี้ความต้องการของลูกค้าให้เป็นปัจจัยป้อนเข้าของระบบการจัดการในองค์การ การเฝ้าติดตาม (Monitor-
ing) ถึงความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ภายหลังจากองค์การได้ส่งมอบผลผลิตขององค์การ
ไปแล้ว การเฝ้าติดตามวัดความพึงพอใจของลูกค้านั้น เพื่อให้ทราบว่าบรรดาข้อกำหนดของลูกค้าได้รับการ
ตอบสนองโดยครบถ้วนแล้วหรือไม่
หลักการที่ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000:2000 นำมาใช้คือหลักการพัฒนาออย่างต่อเนื่อง คือ
Plan : ทำการกำหนด หรือระบุชี้ วัตถุประสงค์และกระบวนการที่จำเป็นต่อการส่งมอบ
ผลิตภัณฑ์บริการที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า และนโยบายขององค์กรเอง
Do : นำกระบวนการที่กำหนดชัดเจนแล้วไปปฏิบัติให้เกิดผล
Check : ติดตามตารางและจัดกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ โดยเปรียบเทียบกับนโยบายวัตถุประสงค์
ของผลิตภัณฑ์
Action : ปฏิบัติการต่าง ๆ แล้วปรับปรุงผลการดำเนินงานของกระบวนการให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
ระบุชี้ความต้องการของลูกค้าให้เป็นปัจจัยป้อนเข้าของระบบการจัดการในองค์การ การเฝ้าติดตาม (Monitor-
ing) ถึงความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ภายหลังจากองค์การได้ส่งมอบผลผลิตขององค์การ
ไปแล้ว การเฝ้าติดตามวัดความพึงพอใจของลูกค้านั้น เพื่อให้ทราบว่าบรรดาข้อกำหนดของลูกค้าได้รับการ
ตอบสนองโดยครบถ้วนแล้วหรือไม่
หลักการที่ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000:2000 นำมาใช้คือหลักการพัฒนาออย่างต่อเนื่อง คือ
Plan : ทำการกำหนด หรือระบุชี้ วัตถุประสงค์และกระบวนการที่จำเป็นต่อการส่งมอบ
ผลิตภัณฑ์บริการที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า และนโยบายขององค์กรเอง
Do : นำกระบวนการที่กำหนดชัดเจนแล้วไปปฏิบัติให้เกิดผล
Check : ติดตามตารางและจัดกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ โดยเปรียบเทียบกับนโยบายวัตถุประสงค์
ของผลิตภัณฑ์
Action : ปฏิบัติการต่าง ๆ แล้วปรับปรุงผลการดำเนินงานของกระบวนการให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
อนุกรมมาตรฐาน
ISO 9000 : 2000
มาตรฐาน
|
หัวข้อ
|
ISO 9000 : 2000
|
ระบบบริหารงานคุณภาพ : หลักการพื้นฐานและคำศัพท์
|
ISO 9001 : 2000
|
ระบบบริหารคุณภาพ : ข้อกำหนด
|
ISO 9004 : 2000
|
ระบบบริหารงานคุณภาพ : แนวทางสำหรับปรับปรุงสมรรถนะ
|
อนุกรมมาตรฐาน
ISO 9000:2000 มี 2 ฉบับ คือ ISO 9001 และ ISO 9004 ซึ่งทั้ง 2
ฉบับเป็น
มาตรฐานซึ่งสอดรับกัน (Consistent Pair) หรือจะแยกกันก็ได้ และถึงแม้ว่ามาตรฐานทั้งสองจะมีขอบข่าย
ที่แตกต่างกัน แต่มาตรฐานทั้ง 2 ฉบับ มีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันอาจเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่าง
มาตรฐานทั้ง 2 ฉบับได้ดังนี้
มาตรฐาน ISO 9001 ได้วางข้อกำหนดสำหรับองค์การ เพื่อการจัดทำระบบบริหารคุณภาพสำหรับ
ประยุกต์ใช้ภายในองค์การของงาน และการออกใบรับรอง หรือเพื่อวัตถุประสงค์ภายใต้ข้อตกลงหรือสัญญา
ระหว่างองค์กรกับลูกค้า มาตรฐานฉบับนี้มุ่งเน้นที่ความมีประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพขององค์กร
ในการบรรลุถึงข้อกำหนดของลูกค้า
มาตรฐาน ISO 9004 ให้แนวทางของระบบบริหารคุณภาพที่มีขอบเขตกว้างขวางกว่าที่กำหนด
ไว้ใน ISO 9001 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงผลการดำเนินงานโดยรวมขององค์การอย่างต่อเนื่อง โดยครอบคลุมถึงด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย มีความประสงค์จะพัฒนาองค์กรของงานให้ก้าวไปเกินกว่าระดับที่กำหนดใช้ในมาตรฐาน ISO 9001 โดยเฉพาะในด้านการปรับปรุงผลประกอบการขององค์กรอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรฐาน ISO 9004 ไม่มีวัตถุประสงค์ให้ใช้หรือการขอการรับรอง(Certification) หรือเพื่อประกอบในการทำสัญญากับลูกค้า
ISO 9000:2000 ไม่มีข้อกำหนดที่จำเพาะเจาะจงในหัวข้อการบริหารจัดการในระบบอื่น ๆ เช่น
ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management) ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีว-
อนามัย (Occupational Health and Safety Management) หรือระบบการบริหารการเงิน (Financial Manage-
ment) หรือแม้กระทั่งการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) อย่างไรก็ตามมาตรฐานฉบับนี้ได้เปิดโอกาสให้องค์การผู้นำมาตรฐานนี้ไปใช้ สามารถเลือกที่จะปรับ (Align) หรือผนวกรวม (Integrate) ระบบบริหาร
คุณภาพให้สอดรับกับระบบการบริหารอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วในองค์กร แต่ในบางกรณีองค์กรอาจปรับเปลี่ยน
ระบบการบริหารงานของตนเพื่อเอื้ออำนวยให้สามารถจัดทำระบบบริหารงานคุณภาพที่สอดรับกับข้อกำหนด
ในมาตรฐานฉบับนี้ก็ได้
มาตรฐานซึ่งสอดรับกัน (Consistent Pair) หรือจะแยกกันก็ได้ และถึงแม้ว่ามาตรฐานทั้งสองจะมีขอบข่าย
ที่แตกต่างกัน แต่มาตรฐานทั้ง 2 ฉบับ มีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันอาจเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่าง
มาตรฐานทั้ง 2 ฉบับได้ดังนี้
มาตรฐาน ISO 9001 ได้วางข้อกำหนดสำหรับองค์การ เพื่อการจัดทำระบบบริหารคุณภาพสำหรับ
ประยุกต์ใช้ภายในองค์การของงาน และการออกใบรับรอง หรือเพื่อวัตถุประสงค์ภายใต้ข้อตกลงหรือสัญญา
ระหว่างองค์กรกับลูกค้า มาตรฐานฉบับนี้มุ่งเน้นที่ความมีประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพขององค์กร
ในการบรรลุถึงข้อกำหนดของลูกค้า
มาตรฐาน ISO 9004 ให้แนวทางของระบบบริหารคุณภาพที่มีขอบเขตกว้างขวางกว่าที่กำหนด
ไว้ใน ISO 9001 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงผลการดำเนินงานโดยรวมขององค์การอย่างต่อเนื่อง โดยครอบคลุมถึงด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย มีความประสงค์จะพัฒนาองค์กรของงานให้ก้าวไปเกินกว่าระดับที่กำหนดใช้ในมาตรฐาน ISO 9001 โดยเฉพาะในด้านการปรับปรุงผลประกอบการขององค์กรอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามมาตรฐาน ISO 9004 ไม่มีวัตถุประสงค์ให้ใช้หรือการขอการรับรอง(Certification) หรือเพื่อประกอบในการทำสัญญากับลูกค้า
ISO 9000:2000 ไม่มีข้อกำหนดที่จำเพาะเจาะจงในหัวข้อการบริหารจัดการในระบบอื่น ๆ เช่น
ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management) ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีว-
อนามัย (Occupational Health and Safety Management) หรือระบบการบริหารการเงิน (Financial Manage-
ment) หรือแม้กระทั่งการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) อย่างไรก็ตามมาตรฐานฉบับนี้ได้เปิดโอกาสให้องค์การผู้นำมาตรฐานนี้ไปใช้ สามารถเลือกที่จะปรับ (Align) หรือผนวกรวม (Integrate) ระบบบริหาร
คุณภาพให้สอดรับกับระบบการบริหารอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วในองค์กร แต่ในบางกรณีองค์กรอาจปรับเปลี่ยน
ระบบการบริหารงานของตนเพื่อเอื้ออำนวยให้สามารถจัดทำระบบบริหารงานคุณภาพที่สอดรับกับข้อกำหนด
ในมาตรฐานฉบับนี้ก็ได้
หลักการบริหารงานคุณภาพ
8 ประการ
หลักการที่ 1 : องค์กรที่ให้ความสำคัญแก่ลูกค้า (Customer Focused Organization)
"องค์กรต้องพึ่งพิงลูกค้าเพื่อความอยู่รอด ดังนั้นจึงควรทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้าทั้ง
ในส่วนปัจจุบันและอนาคต และทำให้บรรลุความต้องการเหล่านั้น รวมถึงการพยายามที่จะทำให้ได้เกินความ
คาดหวังของลูกค้า"
"Organizations depend their customers and therefore should understand current and future
customer needs, should meet customer requirements and strive to exceed customer expectations."
หลักการที่ 1 : องค์กรที่ให้ความสำคัญแก่ลูกค้า (Customer Focused Organization)
"องค์กรต้องพึ่งพิงลูกค้าเพื่อความอยู่รอด ดังนั้นจึงควรทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้าทั้ง
ในส่วนปัจจุบันและอนาคต และทำให้บรรลุความต้องการเหล่านั้น รวมถึงการพยายามที่จะทำให้ได้เกินความ
คาดหวังของลูกค้า"
"Organizations depend their customers and therefore should understand current and future
customer needs, should meet customer requirements and strive to exceed customer expectations."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. เข้าใจความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้า
2. กำหนดเป้าหมายและองค์กรให้สัมพันธ์กับความต้องการและคาดหวังของลูกค้า
3. สื่อความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้าให้เป็นที่เข้าใจทั่วถึงทั้งองค์กรวัดความพึงพอใจ
ของลูกค้า
4. สร้างสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างเป็นระบบ
5. คำนึงถึงความสมดุลในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ
2. กำหนดเป้าหมายและองค์กรให้สัมพันธ์กับความต้องการและคาดหวังของลูกค้า
3. สื่อความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้าให้เป็นที่เข้าใจทั่วถึงทั้งองค์กรวัดความพึงพอใจ
ของลูกค้า
4. สร้างสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างเป็นระบบ
5. คำนึงถึงความสมดุลในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ
ประโยชน์ที่ได้
1. มีความยืดหยุ่นและรวดเร็วในการตอบสนองตลาด
ทำให้ส่วนแบ่งการตลาดและรายได้
เพิ่มขึ้น
2. เพิ่มความภักดีของลูกค้า และการแนะนำต่อ
3. ทำให้การใช้ทรัพยากรเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น
2. เพิ่มความภักดีของลูกค้า และการแนะนำต่อ
3. ทำให้การใช้ทรัพยากรเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการที่ 2
: ความเป็นผู้นำ (Leadership)
"ผู้นำเป็นผู้กำหนดความเป็นเอกภาพของวัตถุประสงค์และทิศทางขององค์กร ผู้นำต้องเป็นผู้
สร้างและธำรงไว้ซึ่งปัจจัยเกื้อหนุนภายในที่สนับสนุนให้ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมและส่งเสริมการบรรลุ
วัตถุประสงค์ขององค์กรได้"
"Leaders establish unity of purpose and direction of the organization. They should create and
maintain the internal environment in which people can become fully involved in achieving the organization's
objectives
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
"ผู้นำเป็นผู้กำหนดความเป็นเอกภาพของวัตถุประสงค์และทิศทางขององค์กร ผู้นำต้องเป็นผู้
สร้างและธำรงไว้ซึ่งปัจจัยเกื้อหนุนภายในที่สนับสนุนให้ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมและส่งเสริมการบรรลุ
วัตถุประสงค์ขององค์กรได้"
"Leaders establish unity of purpose and direction of the organization. They should create and
maintain the internal environment in which people can become fully involved in achieving the organization's
objectives
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. พิจารณาความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย
2. กำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนขององค์กร
3. กำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย
4. สร้างและรักษาคุณค่า ความเสมอภาค และจรรยาบรรณร่วมกัน ให้มีในทุกระดับขององค์กร
5. สร้างความไว้วางใจและขจัดความหวาดกลัว
6. จัดสรรทรัพยากรที่จำเป็น
7. ให้การฝึกอบรม
8. ให้อิสระในการปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ
9. สร้างแรงบันดาลใจ สนับสนุน และให้การยอมรับต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากร
2. กำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนขององค์กร
3. กำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย
4. สร้างและรักษาคุณค่า ความเสมอภาค และจรรยาบรรณร่วมกัน ให้มีในทุกระดับขององค์กร
5. สร้างความไว้วางใจและขจัดความหวาดกลัว
6. จัดสรรทรัพยากรที่จำเป็น
7. ให้การฝึกอบรม
8. ให้อิสระในการปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ
9. สร้างแรงบันดาลใจ สนับสนุน และให้การยอมรับต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากร
ประโยชน์ที่ได้
1. ทำให้บุคลากรเข้าใจและเกิดแรงจูงใจเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กร
2. มีการประเมินผลของกิจกรรมต่าง ๆ ปรับ และนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกัน
3. ลดความผิดพลาดในการสื่อความ ระหว่างบุคลากรในระดับต่าง ๆ
2. มีการประเมินผลของกิจกรรมต่าง ๆ ปรับ และนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกัน
3. ลดความผิดพลาดในการสื่อความ ระหว่างบุคลากรในระดับต่าง ๆ
หลักการที่ 3
: การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of people)
"พนักงานทุกระดับถือเป็นหัวใจสำคัญขององค์กรและการให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่และเต็ม
ความสามารถของพนักงานทุกคน ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร"
"People at all levels are the essence of an organization and their full involvement enables their
abilities to be used for the organization's benefit."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
"พนักงานทุกระดับถือเป็นหัวใจสำคัญขององค์กรและการให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่และเต็ม
ความสามารถของพนักงานทุกคน ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร"
"People at all levels are the essence of an organization and their full involvement enables their
abilities to be used for the organization's benefit."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. ทำให้บุคลากรเข้าใจในความสำคัญของการมีส่วนร่วมและบทบาทของตนในองค์กร
2. ให้รู้ข้อจำกัดในการทำงาน
3. ทำให้ยอมรับเป็นเจ้าของปัญหา และความรับผิดชอบในการแก้ไข
4. ประเมินผลงานเทียบกับเป้าหมายที่ตนเองตั้งไว้
5. เพิ่มพูนความรู้ความสามารถอย่างสม่ำเสมอ
6. แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
7. พิจารณาข้อปัญหา และประเด็นต่าง ๆ อย่างเปิดเผย
2. ให้รู้ข้อจำกัดในการทำงาน
3. ทำให้ยอมรับเป็นเจ้าของปัญหา และความรับผิดชอบในการแก้ไข
4. ประเมินผลงานเทียบกับเป้าหมายที่ตนเองตั้งไว้
5. เพิ่มพูนความรู้ความสามารถอย่างสม่ำเสมอ
6. แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
7. พิจารณาข้อปัญหา และประเด็นต่าง ๆ อย่างเปิดเผย
ประโยชน์ที่ได้
1. ทำให้บุคลากรเกิดแรงจูงใจ มุ่งมั่น และมีส่วนร่วม
2. สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เพื่อให้เหนือกว่าเป้าหมายที่องค์กรกำหนด
3. บุคลากรมีความรับผิดชอบต่อผลงานของตัวเอง
4. กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมและช่วยทำให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
2. สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เพื่อให้เหนือกว่าเป้าหมายที่องค์กรกำหนด
3. บุคลากรมีความรับผิดชอบต่อผลงานของตัวเอง
4. กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมและช่วยทำให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หลักการที่ 4
: การบริหารเชิงกระบวนการ (Process approach)
"ผลลัพธ์ที่ต้องการสามารถบรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อทรัพยากรและกิจกรรมที่
เกี่ยวข้องได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นกระบวนการ"
"A desired result is achieved more efficiently when activities and related resources are managed
as a process."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
"ผลลัพธ์ที่ต้องการสามารถบรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อทรัพยากรและกิจกรรมที่
เกี่ยวข้องได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นกระบวนการ"
"A desired result is achieved more efficiently when activities and related resources are managed
as a process."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. กำหนดกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อให้ได้ผลที่ต้องการ
2. กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการกิจกรรมหลักให้ชัดเจน
3. วิเคราะห์และวัดขีดความสามารถของกิจกรรมหลัก
4. แสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลัก ทั้งภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานในองค์กร
5. เน้นปัจจัยที่จะก่อให้เกิดการปรับปรุงกิจกรรมหลักขององค์กร เช่น ทรัพยากร วิธีการ
6. ประเมินความเสี่ยง และผลกระทบ ที่มีต่อลูกค้า ผู้ขาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ
2. กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินการกิจกรรมหลักให้ชัดเจน
3. วิเคราะห์และวัดขีดความสามารถของกิจกรรมหลัก
4. แสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลัก ทั้งภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานในองค์กร
5. เน้นปัจจัยที่จะก่อให้เกิดการปรับปรุงกิจกรรมหลักขององค์กร เช่น ทรัพยากร วิธีการ
6. ประเมินความเสี่ยง และผลกระทบ ที่มีต่อลูกค้า ผู้ขาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ
ประโยชน์ที่ได้
1. ลดค่าใช้จ่าย และลดระยะเวลาในการทำงาน จากการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
2. ทำให้ผลงานมีความสม่ำเสมอ มีการปรับปรุง และสามารถคาดการณ์ได้
3. สามารถเน้นและจัดลำดับความสำคัญของเรื่องที่จะปรับปรุง
2. ทำให้ผลงานมีความสม่ำเสมอ มีการปรับปรุง และสามารถคาดการณ์ได้
3. สามารถเน้นและจัดลำดับความสำคัญของเรื่องที่จะปรับปรุง
หลักการที่ 5
: การบริหารเป็นระบบ (System approach to management)
"การบ่งชี้ การทำความเข้าใจ และการบริหารจัดการในเชิงระบบที่ประกอบด้วยกระบวน
การต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อกันเพื่อวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิ
ผลขององค์กร"
"Identifying, understanding and managing interrelated processes as system contributes to the
organization's effectiveness and efficiency in achieving its objectives."
"การบ่งชี้ การทำความเข้าใจ และการบริหารจัดการในเชิงระบบที่ประกอบด้วยกระบวน
การต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อกันเพื่อวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิ
ผลขององค์กร"
"Identifying, understanding and managing interrelated processes as system contributes to the
organization's effectiveness and efficiency in achieving its objectives."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. จัดระบบเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรอย่างมีประสิทธิผล
และประสิทธิภาพสูงสุด
2. ทำความเข้าใจกับการพึ่งพาซึ่งกันและกันระหว่างกระบวนการต่าง ๆ ในระบบ
3. ปรับ และรวมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
4. เข้าใจบทบาทและหน้าที่ที่จำเป็นเพื่อการบรรลุเป้าหมายร่วม และลดอุปสรรคระหว่างหน่วย
งาน
5. เข้าใจขีดความสามารถขององค์กร และขีดจำกัดด้านทรัพยากร ก่อนการดำเนินการใด ๆ
6. กำหนดเป้าหมายและวิธีดำเนินการในแต่ละกิจกรรม
7. วัดและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
2. ทำความเข้าใจกับการพึ่งพาซึ่งกันและกันระหว่างกระบวนการต่าง ๆ ในระบบ
3. ปรับ และรวมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
4. เข้าใจบทบาทและหน้าที่ที่จำเป็นเพื่อการบรรลุเป้าหมายร่วม และลดอุปสรรคระหว่างหน่วย
งาน
5. เข้าใจขีดความสามารถขององค์กร และขีดจำกัดด้านทรัพยากร ก่อนการดำเนินการใด ๆ
6. กำหนดเป้าหมายและวิธีดำเนินการในแต่ละกิจกรรม
7. วัดและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ประโยชน์ที่ได้
1. เกิดการรวมและจัดกระบวนการต่าง ๆ
เพื่อทำให้สามารถบรรลุผลตามที่ต้องการได้ดีที่สุด
2. สามารถทุ่มเทให้กับกระบวนการที่สำคัญ
3. สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความสม่ำเสมอ
ในการดำเนินงานขององค์กร
2. สามารถทุ่มเทให้กับกระบวนการที่สำคัญ
3. สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความสม่ำเสมอ
ในการดำเนินงานขององค์กร
หลักการที่ 6
: การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement)
"การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องควรได้รับการกำหนดให้เป็นวัตถุประสงค์ถาวรขององค์กร"
"Continual improvement of the organization's overall performance should be a permanent
objective of the organization"
"Continual improvement of the organization's overall performance should be a permanent
objective of the organization"
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. ให้มีการปรับปรุงต่อเนื่องทั่วทั้งองค์กรอย่างสม่ำเสมอ
2. ให้การฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือสำหรับใช้ในกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
3. ทำให้ทุกคนมีเป้าหมายที่จะทำให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในสินค้า กระบวนการ และ
ระบบ
4. กำหนดเป้าหมายเพื่อเป็นแนวทาง และมีมาตรการในการติดตามผล การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
5. ให้การยอมรับและชื่นชมผลการปรับปรุง
2. ให้การฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือสำหรับใช้ในกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
3. ทำให้ทุกคนมีเป้าหมายที่จะทำให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในสินค้า กระบวนการ และ
ระบบ
4. กำหนดเป้าหมายเพื่อเป็นแนวทาง และมีมาตรการในการติดตามผล การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
5. ให้การยอมรับและชื่นชมผลการปรับปรุง
ประโยชน์ที่ได้
1. เพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขันจากการพัฒนาความสามารถขององค์กร
2. เกิดการปรับกิจกรรมการปรับปรุงในทุกระดับเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ของ
องค์กร
3. มีความยืดหยุ่นในการตอบสนองต่อโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2. เกิดการปรับกิจกรรมการปรับปรุงในทุกระดับเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ของ
องค์กร
3. มีความยืดหยุ่นในการตอบสนองต่อโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
หลักการที่ 7 : การตัดสินใจจากข้อมูลที่เป็นจริง (Factual
approach to decision making)
"การตัดสินใจที่ทรงประสิทธิภาพ ควรดำเนินการบนพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ"
"Effective decisions are based on the analysis of data information."
"การตัดสินใจที่ทรงประสิทธิภาพ ควรดำเนินการบนพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ"
"Effective decisions are based on the analysis of data information."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. มั่นใจว่ามีข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อถือได้
2. บุคลากรสามารถเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้
3. วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารโดยวิธีการที่ถูกต้อง
4. ตัดสินใจและดำเนินการโดยใช้ผลการวิเคราะห์ที่แท้จริงประกอบกับประสบการณ์และ
สัญชาตญาณ
2. บุคลากรสามารถเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้
3. วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารโดยวิธีการที่ถูกต้อง
4. ตัดสินใจและดำเนินการโดยใช้ผลการวิเคราะห์ที่แท้จริงประกอบกับประสบการณ์และ
สัญชาตญาณ
ประโยชน์ที่ได้
1. การตัดสินใจโดยมีข้อมูลเพียงพอ
2. เพิ่มความสามารถในการแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของการตัดสินใจที่ผ่านมาโดยอ้างอิง
ข้อเท็จจริง
3. เพิ่มความสามารถในการทบทวน ท้าทาย และเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นและการตัดสินใจ
2. เพิ่มความสามารถในการแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของการตัดสินใจที่ผ่านมาโดยอ้างอิง
ข้อเท็จจริง
3. เพิ่มความสามารถในการทบทวน ท้าทาย และเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นและการตัดสินใจ
หลักการที่ 8 : ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วม (Mutually
beneficial supplier relationship)
"องค์กรและผู้ส่งมอบต่างต้องพึ่งพาอาศัยกันและการมีความสัมพันธ์ในเชิงผู้เกื้อกูลผลประโยชน์
จะช่วยส่งเสริมความสามารถในการสร้างคุณค่าของทั้งสองฝ่าย"
จะช่วยส่งเสริมความสามารถในการสร้างคุณค่าของทั้งสองฝ่าย"
"An organization and its supplier are interdependent
and a mutually beneficial relationship
enhances the ability of both to create value."
enhances the ability of both to create value."
การนำหลักการไปประยุกต์ใช้งาน
1. สร้างความสัมพันธ์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
2. รวบรวมความชำนาญและทรัพยากรร่วมกับคู่ค้า
3. ระบุและคัดเลือกผู้ขายที่สำคัญ
4. สร้างสื่อสารที่ชัดเจนและโปร่งใส
5. ใช้ข่าวสารข้อมูลและแผนงานร่วมกัน
6. ให้มีกิจกรรมการปรับปรุงร่วมกัน และให้การยอมรับ
2. รวบรวมความชำนาญและทรัพยากรร่วมกับคู่ค้า
3. ระบุและคัดเลือกผู้ขายที่สำคัญ
4. สร้างสื่อสารที่ชัดเจนและโปร่งใส
5. ใช้ข่าวสารข้อมูลและแผนงานร่วมกัน
6. ให้มีกิจกรรมการปรับปรุงร่วมกัน และให้การยอมรับ
ประโยชน์ที่ได้
1. เพิ่มคุณค่าทั้งองค์กร และผู้ขาย
2. มีความยืดหยุ่นและรวดเร็วในการตอบสนองร่วมกันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการตลาดหรือ
ความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้า
3. มีความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่ายและทรัพยากร
2. มีความยืดหยุ่นและรวดเร็วในการตอบสนองร่วมกันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการตลาดหรือ
ความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้า
3. มีความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่ายและทรัพยากร
สรุปลักษณะสำคัญของมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ : ISO 9000
1. เป็นมาตรฐานสากลที่ใช้เพื่อการบริหารหรือจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพในองค์การ
ทุกขนาดและทุกประเภท
2. มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 จะไม่รับประกันว่าผลิตภัณฑ์จะดีที่สุด หรือมี
มาตรฐานที่สุด
3. มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 จะประกันว่าการบริหารงานขององค์การนั้นมี
คุณภาพทั่วทั้งองค์การ
ทุกขนาดและทุกประเภท
2. มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 จะไม่รับประกันว่าผลิตภัณฑ์จะดีที่สุด หรือมี
มาตรฐานที่สุด
3. มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 จะประกันว่าการบริหารงานขององค์การนั้นมี
คุณภาพทั่วทั้งองค์การ
สรุปโครงสร้างและแนวคิดของอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000:2000
1. โครงสร้างและแนวคิดดังกล่าว เปลี่ยนแปลงเพื่อให้ตรงตามความพึงพอใจของลูกค้า
2. มุ่งส่งเสริมให้มีการนำการบริหารโดยการมองเป็นกระบวนการ
3. หลักการที่ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000:2000 นำมาใช้คือหลักการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คือวงจร P-D-C-A
4. อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000:2000 มี 2 ฉบับ คือ
2. มุ่งส่งเสริมให้มีการนำการบริหารโดยการมองเป็นกระบวนการ
3. หลักการที่ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000:2000 นำมาใช้คือหลักการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คือวงจร P-D-C-A
4. อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000:2000 มี 2 ฉบับ คือ
4.1 มาตรฐาน ISO 9001 มาตรฐานฉบับนี้มุ่งเน้นที่ความมีประสิทธิผลของระบบบริหารงาน
คุณภาพขององค์การ ในการบรรจุถึงข้อกำหนดของลูกค้า
4.2 มาตรฐาน ISO 9004 มาตรฐานฉบับนี้มีความประสงค์จะพัฒนาองค์กรในด้านการปรับ
ปรุงผลประกอบการขององค์การอย่างต่อเนื่อง
คุณภาพขององค์การ ในการบรรจุถึงข้อกำหนดของลูกค้า
4.2 มาตรฐาน ISO 9004 มาตรฐานฉบับนี้มีความประสงค์จะพัฒนาองค์กรในด้านการปรับ
ปรุงผลประกอบการขององค์การอย่างต่อเนื่อง
สรุปหลักการบริหารงานคุณภาพ 8 ประการ
1. องค์การที่ให้ความสำคัญแก่ลูกค้า (Customer Focused
Organization)
2. ความเป็นผู้นำ (Leadership)
3. การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of people)
4. การบริหารเชิงกระบวนการ (Process approach)
5. การบริหารเป็นระบบ
6. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
7. การตัดสินใจจากข้อมูลที่เป็นจริง
8. ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วม
2. ความเป็นผู้นำ (Leadership)
3. การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of people)
4. การบริหารเชิงกระบวนการ (Process approach)
5. การบริหารเป็นระบบ
6. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
7. การตัดสินใจจากข้อมูลที่เป็นจริง
8. ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วม
ในอนุกรมมาตรฐานระบบคุณภาพ
ISO 9000 นั้น มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9004 เป็น
มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพและหัวข้อต่าง ๆ ในระบบคุณภาพ ซึ่งหมายถึงแนวทางการใช้มาตรฐาน
ได้แจกแจงรายละเอียดของหัวข้อต่าง ๆ ในระบบคุณภาพและรวมถึงขั้นตอนการดำเนินการอย่างละเอียด
องค์การสามารถเลือกองค์ประกอบและขั้นตอนดำเนินการที่เหมาะสมสำหรับองค์การของตน เพื่อเป็นการ
ลดต้นทุน สร้างผลกำไร และสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ระบบคุณภาพ ISO 9004 นี้จะเน้นความพึงพอใจของ
ผู้บริโภค การสร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของบุคลากร ความสำคัญของการประเมินศักยภาพ ความเสี่ยง
และประโยชน์ที่จะมีต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า จำเป็นอย่างยิ่งที่ระบบบริหารคุณภาพ
จะต้องมีความเหมาะสมและมีโครงสร้างที่ดี และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าวถึงพื้นฐานของหัวข้อที่จะใช้
พัฒนาระบบการบริหารงานคุณภาพ การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม ขอบข่ายที่องค์การยอมรับและนำไปใช้ เช่น
มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพและหัวข้อต่าง ๆ ในระบบคุณภาพ ซึ่งหมายถึงแนวทางการใช้มาตรฐาน
ได้แจกแจงรายละเอียดของหัวข้อต่าง ๆ ในระบบคุณภาพและรวมถึงขั้นตอนการดำเนินการอย่างละเอียด
องค์การสามารถเลือกองค์ประกอบและขั้นตอนดำเนินการที่เหมาะสมสำหรับองค์การของตน เพื่อเป็นการ
ลดต้นทุน สร้างผลกำไร และสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ระบบคุณภาพ ISO 9004 นี้จะเน้นความพึงพอใจของ
ผู้บริโภค การสร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของบุคลากร ความสำคัญของการประเมินศักยภาพ ความเสี่ยง
และประโยชน์ที่จะมีต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า จำเป็นอย่างยิ่งที่ระบบบริหารคุณภาพ
จะต้องมีความเหมาะสมและมีโครงสร้างที่ดี และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าวถึงพื้นฐานของหัวข้อที่จะใช้
พัฒนาระบบการบริหารงานคุณภาพ การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม ขอบข่ายที่องค์การยอมรับและนำไปใช้ เช่น
1.
หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบและความผูกพันต่อนโยบาย
คุณภาพ เป็นเรื่องที่ฝ่ายบริหารสูงสุดจะต้องรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายคุณภาพ กำหนดวัตถุประสงค์
ของคุณภาพ กำหนดระบบคุณภาพ ในการนำการบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติให้บรรลุผล
2. หลักการของระบบคุณภาพ ขั้นตอนดำเนินงานของระบบคุณภาพ ซึ่งเรียกว่า วงจรคุณภาพ
จะมีกิจกรรมที่ประกอบด้วย การตลาดและการวิจัยตลาด วิศวกรรมการออกแบบ/ข้อกำหนดรายการและการ
พัฒนา การจัดหา การวางแผน และการพัฒนากระบวนการ การผลิต การตรวจ การทดสอบและการตรวจสอบ
การบรรจุและการเก็บ การติดตั้งและการปฏิบัติการ ความช่วยเหลือทางวิชาการและการบำรุงรักษา การกำจัด
หลังการใช้ นอกจากนี้ หลักการของระบบคุณภาพจะต้องคำนึงถึงโครงสร้างของระบบคุณภาพ ระบบเอกสาร
การตรวจติดตามระบบคุณภาพ การทบทวนและประเมินผลระบบบริหารงานคุณภาพ (ดูแผนภูมิวงจรคุณภาพ
ประกอบ)
คุณภาพ เป็นเรื่องที่ฝ่ายบริหารสูงสุดจะต้องรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายคุณภาพ กำหนดวัตถุประสงค์
ของคุณภาพ กำหนดระบบคุณภาพ ในการนำการบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติให้บรรลุผล
2. หลักการของระบบคุณภาพ ขั้นตอนดำเนินงานของระบบคุณภาพ ซึ่งเรียกว่า วงจรคุณภาพ
จะมีกิจกรรมที่ประกอบด้วย การตลาดและการวิจัยตลาด วิศวกรรมการออกแบบ/ข้อกำหนดรายการและการ
พัฒนา การจัดหา การวางแผน และการพัฒนากระบวนการ การผลิต การตรวจ การทดสอบและการตรวจสอบ
การบรรจุและการเก็บ การติดตั้งและการปฏิบัติการ ความช่วยเหลือทางวิชาการและการบำรุงรักษา การกำจัด
หลังการใช้ นอกจากนี้ หลักการของระบบคุณภาพจะต้องคำนึงถึงโครงสร้างของระบบคุณภาพ ระบบเอกสาร
การตรวจติดตามระบบคุณภาพ การทบทวนและประเมินผลระบบบริหารงานคุณภาพ (ดูแผนภูมิวงจรคุณภาพ
ประกอบ)
3. เศรษฐกิจ ข้อพิจารณาคุณภาพและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบของคุณภาพ จะมีความสำคัญ
ยิ่งต่อกำไรและขาดทุน วัตถุประสงค์หลักของรายงานค่าใช้จ่ายด้านคุณภาพ คือการจัดหา วิธีการในการประเมิน
ผล การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง การบริหารที่เป็นรูปธรรม
4. คุณภาพด้านการตลาด ฝ่ายการตลาดควรเป็นผู้นำในการจัดทำข้อความที่เป็นทางการ สำหรับ
เป็นข้อมูลในการดำเนินการ เช่น จัดทำข้อมูลความต้องการของตลาด สาระสังเขปของผลิตภัณฑ์ข้อมูลป้อน
กลับของลูกค้า
5. คุณภาพในข้อกำหนดรายการและการออกแบบ ฝ่ายกำหนดรายการและการออกแบบจะแปล
เป็นคำสั่งสำคัญ ในการสนับสนุนข้อกำหนดรายการและการออกแบบในด้านคุณภาพ การวางแผนและวัตถุ
ประสงค์การออกแบบ การวัดและการทดสอบผลิตภัณฑ์ คุณสมบัติและการใช้งานได้ของการออกแบบ การ
ทบทวนการออกแบบ มาตรฐานการออกแบบ และการปล่อยผลิตภัณฑ์ การทบทวนความพร้อมที่จะออกสู่
ตลาด การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการทบทวนคุณสมบัติการออกแบบ
6. คุณภาพการจัดซื้อ รายการที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดซื้อ คือ ข้อกำหนดรายการแผนแบบ
และใบสั่งซื้อ การคัดเลือกผู้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ข้อตกลงเรื่องการประกันคุณภาพ ข้อตกลงเรื่องวิธี
การตรวจสอบ ข้อกำหนดสำหรับระงับข้อโต้แย้ง คุณภาพ แผนการตรวจรับ การควบคุมการตรวจรับ และ
บันทึกคุณภาพการรับ
7. คุณภาพในการผลิต การบริหารคุณควรดำเนินการในเรื่องการวางแผนเพื่อการควบคุมการ
ผลิต ขีดความสามารถในการผลิต ผลิตภัณฑ์ส่งมอบ สาธารณูปโภค และสภาวะแวดล้อม
8. การควบคุมการผลิต จากวงจรคุณภาพนำไปสู่การควบคุมคุณภาพในวัฏจักรการผลิตนั้น จะ
ต้องมีการควบคุมคุณภาพในการผลิต ซึ่งจะต้องคำนึงถึงการควบคุมและการสอบกลับวัสดุการควบคุมและ
การบำรุงและรักษาบริภัณฑ์ กระบวนการพิเศษ การควบคุมเอกสารคู่มือการทำงาน การควบคุมการเปลี่ยน
แปลงในกระบวนการผลิต การควบคุมสถานะการตรวจสอบและการควบคุมวัสดุที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
9. การทวนสอบผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้คุณภาพจึงจำเป็นต้องมีการทวนสอบผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ
วัสดุและชิ้นส่วนที่ได้รับเข้ามา การตรวจสอบในกระบวนการผลิต และการทวนสอบผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
10. การควบคุมบริภัณฑ์สำหรับการวัดและการทดสอบ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการควบคุม
บริภัณฑ์สำหรับการวัดและการทดสอบ ควรมีการควบคุมคุณภาพในเรื่องของการควบคุมการวัด การกำหนด
ข้อที่ควรควบคุม การควบคุมการวัดของผู้ส่งมอบ การปฏิบัติการแก้ไข และทดสอบภายนอกองค์การ
11. ความไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ทันทีที่พบว่าวัสดุประกอบ หรือผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามข้อ
กำหนด จำเป็นต้องดำเนินการคุณภาพในเรื่องการบ่งชี้ การคัดแยก การทบทวน การจัดการผลิตภัณฑ์ที่ไม่
เป็นไปตามข้อกำหนด การเอกสาร และการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ซ้ำ
12. การปฏิบัติการแก้ไข เริ่มต้นด้วยการค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพและมาตรการที่เกี่ยว
ข้อง เพื่อกำจัดและลดปัญหาการเกิดซ้ำ การปฏิบัติการแก้ไขควรครอบคลุมการซ่อมการนำกลับไปทำใหม่
การเรียกกลับคืน การทำลายผลิตภัณฑ์ และการมอบหมายความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบัติการแก้ไข ควร
กำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบคุณภาพ การประเมินความสำคัญการสืบค้นหาสาเหตุที่เป็นไปได้ การ
วิเคราะห์ปัญหา การดำเนินการ ป้องกัน การควบคุมกระบวนการผลิต การจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไป
ตามข้อกำหนด และการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
13. การเคลื่อนย้าย (จัดการ) และหน้าที่หลังการผลิต การควบคุมคุณภาพภายใน เรื่องของการ
เคลื่อนย้ายและหน้าที่หลังการผลิต จะต้องมีการวางแผนควบคุมที่ถูกต้อง รวมถึงระบบเอกสารสำหรับวัสดุ
เพื่อการผลิต จำเป็นต้องคำนึงถึงการเคลื่อนย้ายและการเก็บ การชี้บ่ง การบรรจุ การติดตั้ง การส่งมอบ การ
ให้บริการหลังการขาย การรายงานตลาด และการตรวจตราผลิตภัณฑ์
14. เอกสารและการบันทึกคุณภาพ การควบคุมการเอกสารและการบันทึกคุณภาพ ควรจัดระบบ
บริหารให้มีแนวทางลำดับการชี้บ่ง การรวบรวมการทำดัชนี การจัดเข้าแฟ้ม จัดเก็บ บำรุงรักษา และการเรียก
กลับมาใช้ การควบคุมบันทึกและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ จัดทำนโยบายเกี่ยวกับการหยิบมาใช้ การ
ประเมินจากบันทึกสำหรับลูกค้าและผู้ส่งมอบ จัดทำนโยบายเกี่ยวกับเอกสารด้านคุณภาพ และบันทึก
15. บุคลากร บุคลากรด้านคุณภาพจำเป็นต้องมีการฝีกอบรม เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยว
กับนโยบายคุณภาพ ควรจัดอบรมบุคลากรในทุกระดับขององค์การ ทั้งด้านบริหารการจัดการด้านเทคนิค
หัวหน้าและคนงานในการผลิต โดยคำนึงถึงคุณสมบัติของบุคลากรและการจูงใจ
16. ความปลอดภัยและการรับชดใช้ผลิตภัณฑ์ การชี้บ่งสภาพด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
หรือคุณภาพของการบริการ กำหนดขั้นตอนจำกัดความเสี่ยงและลดจำนวนการรับชดใช้ผลิตภัณฑ์โดยระบุ
มาตรฐานความปลอดภัย การทดสอบ การประเมินแบบและต้นแบบ วิเคราะห์คู่มือ คำเตือนและวัสดุโฆษณา
เพื่อลดการแปลความหมายผิด จัดทำแนวทางการสอบกลับและการเรียกคืนผลิตภัณฑ์
17. การใช้กลวิธีทางสถิติ การนำวิธีทางสถิติไปใช้อย่างถูกต้องในทุกขั้นตอนของวงจรคุณภาพ
กำหนดกลวิธีทางสถิติเฉพาะและวิธีใช้ที่มีอยู่ ควรรวมทั้งแบบการทดลอง/ การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การวิเคราะห์การถดถอย ต้องมีการทดสอบนัยสำคัญเหล่านี้ด้วย
ยิ่งต่อกำไรและขาดทุน วัตถุประสงค์หลักของรายงานค่าใช้จ่ายด้านคุณภาพ คือการจัดหา วิธีการในการประเมิน
ผล การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง การบริหารที่เป็นรูปธรรม
4. คุณภาพด้านการตลาด ฝ่ายการตลาดควรเป็นผู้นำในการจัดทำข้อความที่เป็นทางการ สำหรับ
เป็นข้อมูลในการดำเนินการ เช่น จัดทำข้อมูลความต้องการของตลาด สาระสังเขปของผลิตภัณฑ์ข้อมูลป้อน
กลับของลูกค้า
5. คุณภาพในข้อกำหนดรายการและการออกแบบ ฝ่ายกำหนดรายการและการออกแบบจะแปล
เป็นคำสั่งสำคัญ ในการสนับสนุนข้อกำหนดรายการและการออกแบบในด้านคุณภาพ การวางแผนและวัตถุ
ประสงค์การออกแบบ การวัดและการทดสอบผลิตภัณฑ์ คุณสมบัติและการใช้งานได้ของการออกแบบ การ
ทบทวนการออกแบบ มาตรฐานการออกแบบ และการปล่อยผลิตภัณฑ์ การทบทวนความพร้อมที่จะออกสู่
ตลาด การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และการทบทวนคุณสมบัติการออกแบบ
6. คุณภาพการจัดซื้อ รายการที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดซื้อ คือ ข้อกำหนดรายการแผนแบบ
และใบสั่งซื้อ การคัดเลือกผู้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ข้อตกลงเรื่องการประกันคุณภาพ ข้อตกลงเรื่องวิธี
การตรวจสอบ ข้อกำหนดสำหรับระงับข้อโต้แย้ง คุณภาพ แผนการตรวจรับ การควบคุมการตรวจรับ และ
บันทึกคุณภาพการรับ
7. คุณภาพในการผลิต การบริหารคุณควรดำเนินการในเรื่องการวางแผนเพื่อการควบคุมการ
ผลิต ขีดความสามารถในการผลิต ผลิตภัณฑ์ส่งมอบ สาธารณูปโภค และสภาวะแวดล้อม
8. การควบคุมการผลิต จากวงจรคุณภาพนำไปสู่การควบคุมคุณภาพในวัฏจักรการผลิตนั้น จะ
ต้องมีการควบคุมคุณภาพในการผลิต ซึ่งจะต้องคำนึงถึงการควบคุมและการสอบกลับวัสดุการควบคุมและ
การบำรุงและรักษาบริภัณฑ์ กระบวนการพิเศษ การควบคุมเอกสารคู่มือการทำงาน การควบคุมการเปลี่ยน
แปลงในกระบวนการผลิต การควบคุมสถานะการตรวจสอบและการควบคุมวัสดุที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
9. การทวนสอบผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้คุณภาพจึงจำเป็นต้องมีการทวนสอบผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ
วัสดุและชิ้นส่วนที่ได้รับเข้ามา การตรวจสอบในกระบวนการผลิต และการทวนสอบผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
10. การควบคุมบริภัณฑ์สำหรับการวัดและการทดสอบ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการควบคุม
บริภัณฑ์สำหรับการวัดและการทดสอบ ควรมีการควบคุมคุณภาพในเรื่องของการควบคุมการวัด การกำหนด
ข้อที่ควรควบคุม การควบคุมการวัดของผู้ส่งมอบ การปฏิบัติการแก้ไข และทดสอบภายนอกองค์การ
11. ความไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ทันทีที่พบว่าวัสดุประกอบ หรือผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามข้อ
กำหนด จำเป็นต้องดำเนินการคุณภาพในเรื่องการบ่งชี้ การคัดแยก การทบทวน การจัดการผลิตภัณฑ์ที่ไม่
เป็นไปตามข้อกำหนด การเอกสาร และการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ซ้ำ
12. การปฏิบัติการแก้ไข เริ่มต้นด้วยการค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพและมาตรการที่เกี่ยว
ข้อง เพื่อกำจัดและลดปัญหาการเกิดซ้ำ การปฏิบัติการแก้ไขควรครอบคลุมการซ่อมการนำกลับไปทำใหม่
การเรียกกลับคืน การทำลายผลิตภัณฑ์ และการมอบหมายความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบัติการแก้ไข ควร
กำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบคุณภาพ การประเมินความสำคัญการสืบค้นหาสาเหตุที่เป็นไปได้ การ
วิเคราะห์ปัญหา การดำเนินการ ป้องกัน การควบคุมกระบวนการผลิต การจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไป
ตามข้อกำหนด และการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
13. การเคลื่อนย้าย (จัดการ) และหน้าที่หลังการผลิต การควบคุมคุณภาพภายใน เรื่องของการ
เคลื่อนย้ายและหน้าที่หลังการผลิต จะต้องมีการวางแผนควบคุมที่ถูกต้อง รวมถึงระบบเอกสารสำหรับวัสดุ
เพื่อการผลิต จำเป็นต้องคำนึงถึงการเคลื่อนย้ายและการเก็บ การชี้บ่ง การบรรจุ การติดตั้ง การส่งมอบ การ
ให้บริการหลังการขาย การรายงานตลาด และการตรวจตราผลิตภัณฑ์
14. เอกสารและการบันทึกคุณภาพ การควบคุมการเอกสารและการบันทึกคุณภาพ ควรจัดระบบ
บริหารให้มีแนวทางลำดับการชี้บ่ง การรวบรวมการทำดัชนี การจัดเข้าแฟ้ม จัดเก็บ บำรุงรักษา และการเรียก
กลับมาใช้ การควบคุมบันทึกและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ จัดทำนโยบายเกี่ยวกับการหยิบมาใช้ การ
ประเมินจากบันทึกสำหรับลูกค้าและผู้ส่งมอบ จัดทำนโยบายเกี่ยวกับเอกสารด้านคุณภาพ และบันทึก
15. บุคลากร บุคลากรด้านคุณภาพจำเป็นต้องมีการฝีกอบรม เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยว
กับนโยบายคุณภาพ ควรจัดอบรมบุคลากรในทุกระดับขององค์การ ทั้งด้านบริหารการจัดการด้านเทคนิค
หัวหน้าและคนงานในการผลิต โดยคำนึงถึงคุณสมบัติของบุคลากรและการจูงใจ
16. ความปลอดภัยและการรับชดใช้ผลิตภัณฑ์ การชี้บ่งสภาพด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
หรือคุณภาพของการบริการ กำหนดขั้นตอนจำกัดความเสี่ยงและลดจำนวนการรับชดใช้ผลิตภัณฑ์โดยระบุ
มาตรฐานความปลอดภัย การทดสอบ การประเมินแบบและต้นแบบ วิเคราะห์คู่มือ คำเตือนและวัสดุโฆษณา
เพื่อลดการแปลความหมายผิด จัดทำแนวทางการสอบกลับและการเรียกคืนผลิตภัณฑ์
17. การใช้กลวิธีทางสถิติ การนำวิธีทางสถิติไปใช้อย่างถูกต้องในทุกขั้นตอนของวงจรคุณภาพ
กำหนดกลวิธีทางสถิติเฉพาะและวิธีใช้ที่มีอยู่ ควรรวมทั้งแบบการทดลอง/ การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การวิเคราะห์การถดถอย ต้องมีการทดสอบนัยสำคัญเหล่านี้ด้วย
การนำเอาระบบคุณภาพ
ISO 9000 เข้ามาใช้ในการบริหารงานองค์กรมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อให้มีระบบบริหารงานที่เป็นลายลักษณ์อักษร มีระบบและดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธิผล
2. เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า เกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ขององค์กรว่ามีคุณภาพ
ยุติธรรมและปลอดภัย
3. เพื่อให้สามารถควบคุมการบริหารงานในองค์การได้ทุกกระบวนการและครบวงจรของการ
ผลิตเพราะมีเอกสารในการควบคุม
4. เพื่อสร้างความมั่นใจให้เกิดกับผู้บริหารและพนักงานขององค์การว่าจะสามารถดำเนินงานได้
ตามความต้องการของลูกค้า
5. เพื่อลดค่าใช้จ่ายและความสูญเสียที่อาจเกิดจากการดำเนินงานที่ขาดประสิทธิภาพ
6. เพื่อให้ทราบแนวทางการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด
7. เพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันทางธุรกิจกับคู่แข่งได้ด้วยความมั่นใจ
และมีประสิทธิผล
2. เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า เกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ขององค์กรว่ามีคุณภาพ
ยุติธรรมและปลอดภัย
3. เพื่อให้สามารถควบคุมการบริหารงานในองค์การได้ทุกกระบวนการและครบวงจรของการ
ผลิตเพราะมีเอกสารในการควบคุม
4. เพื่อสร้างความมั่นใจให้เกิดกับผู้บริหารและพนักงานขององค์การว่าจะสามารถดำเนินงานได้
ตามความต้องการของลูกค้า
5. เพื่อลดค่าใช้จ่ายและความสูญเสียที่อาจเกิดจากการดำเนินงานที่ขาดประสิทธิภาพ
6. เพื่อให้ทราบแนวทางการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด
7. เพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันทางธุรกิจกับคู่แข่งได้ด้วยความมั่นใจ
ประโยชน์ของมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000
1. ประโยชน์ต่อบุคลากร
1.1 เป็นการสนับสนุนให้บุคลากรมีความภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
1.2 เป็นการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ
1.3 บุคลากรมีความพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น
1.4 เป็นการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ และขอบเขตที่
ชัดเจน
1.5 เป็นการพัฒนาบุคลากรให้รู้จักการทำงานเป็นทีม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีความ
สามัคคีในหมู่คณะ
1.1 เป็นการสนับสนุนให้บุคลากรมีความภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
1.2 เป็นการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ
1.3 บุคลากรมีความพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น
1.4 เป็นการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ และขอบเขตที่
ชัดเจน
1.5 เป็นการพัฒนาบุคลากรให้รู้จักการทำงานเป็นทีม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีความ
สามัคคีในหมู่คณะ
2. ประโยชน์ต่อองค์การ หรือบริษัท
2.1 เป็นการพัฒนาในการจัดองค์การ การบริหารงาน การผลิต ตลอดจนการให้บริการให้เป็น
ไปอย่างมีระบบแบบแผนและมีประสิทธิภาพ
2.2 เป็นการช่วยให้ผลิตภัณฑ์ได้รับความเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับทั้งตลาดในประเทศและ
ต่างประเทศ
2.3 ช่วยขจัดปัญหาข้อโต้แย้งและการกีดกันทางการค้า
2.4 เป็นการช่วยสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร
2.5 เป็นการช่วยประหยัดต้นทุนในการดำเนินงาน เพราะการทำงานที่มีระบบย่อมก่อให้เกิด
การทำงานที่มีประสิทธิภาพขึ้น
2.1 เป็นการพัฒนาในการจัดองค์การ การบริหารงาน การผลิต ตลอดจนการให้บริการให้เป็น
ไปอย่างมีระบบแบบแผนและมีประสิทธิภาพ
2.2 เป็นการช่วยให้ผลิตภัณฑ์ได้รับความเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับทั้งตลาดในประเทศและ
ต่างประเทศ
2.3 ช่วยขจัดปัญหาข้อโต้แย้งและการกีดกันทางการค้า
2.4 เป็นการช่วยสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร
2.5 เป็นการช่วยประหยัดต้นทุนในการดำเนินงาน เพราะการทำงานที่มีระบบย่อมก่อให้เกิด
การทำงานที่มีประสิทธิภาพขึ้น
3. ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
3.1 ช่วยให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในผลิตภัณฑ์และการบริการ
3.2 ช่วยประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และมีความสะดวกโดยไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ซ้ำอีก
3.3 ช่วยให้ง่ายต่อการค้นหารายชื่อบริษัทที่ได้รับรองมาตรฐาน เพราะบริษัทได้รับการรับรอง
จะต้องเผยแพร่ผลการรับรองของตน
3.1 ช่วยให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในผลิตภัณฑ์และการบริการ
3.2 ช่วยประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และมีความสะดวกโดยไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ซ้ำอีก
3.3 ช่วยให้ง่ายต่อการค้นหารายชื่อบริษัทที่ได้รับรองมาตรฐาน เพราะบริษัทได้รับการรับรอง
จะต้องเผยแพร่ผลการรับรองของตน
4. ช่วยให้ได้รับการคุ้มครองในด้านคุณภาพ
ความปลอดภัย ตลอดจนการใช้งาน
สถาบันรับรองมาตรฐาน ISO จะเป็นผู้ตรวจสอบ ประเมิน และติดตามผลขององค์การที่ได้การ
รับรองคุณภาพอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
สถาบันรับรองมาตรฐาน ISO จะเป็นผู้ตรวจสอบ ประเมิน และติดตามผลขององค์การที่ได้การ
รับรองคุณภาพอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
สรุปประโยชน์ของมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ
: ISO 9000
1. สามารถพัฒนาบุคลากร พัฒนาสถานที่ทำงาน
และเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหาร
ภายในองค์การ
2. สามารถลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนในการผลิต ตลอดจนความสูญเสียต่าง ๆ อันเกิดจากการผลิต
3. ระบบบริหารงานคุณภาพ : ISO 9000 สร้างจิตสำนึกในการทำงานให้กับพนักงาน มีการทำงาน
ที่มีระบบ มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถควบคุมและตรวจสอบได้ง่ายขึ้น
4. สามารถเพิ่มผลผลิตและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์การ นับเป็นการประกาศเกียรติคุณอีกทาง
ภายในองค์การ
2. สามารถลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนในการผลิต ตลอดจนความสูญเสียต่าง ๆ อันเกิดจากการผลิต
3. ระบบบริหารงานคุณภาพ : ISO 9000 สร้างจิตสำนึกในการทำงานให้กับพนักงาน มีการทำงาน
ที่มีระบบ มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถควบคุมและตรวจสอบได้ง่ายขึ้น
4. สามารถเพิ่มผลผลิตและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์การ นับเป็นการประกาศเกียรติคุณอีกทาง
หนึ่งด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น